Powered by Blogger.
Friday, July 17, 2015

ประวัตินักร้อง หญิงลี ศรีจุมพล ขาขาวสาวลำซิ่ง เมียงู

หญิงลี ศรีจุมพล เธอเป็นสาวชาวบุรีรัมย์โดยกำเนิด และเติบโตที่นั่น เธอรักในเสียงเพลงและชื่นชอบการร้องเพลงมาตั้งแต่เด็ก ๆ โดยแนวดนตรีที่ชอบที่สุด ก็คือหมอลำซิ่งนี้เอง จริง ๆ แล้วสาวลำซิ่งคนนี้เคยออกอัลบั้มมาครั้งหนึ่งแล้ว คืออัลบั้ม ย่านตกสวรรค์ กับค่ายเอสพี มิวสิค แม้ว่าตอนนั้นเธอจะยังไม่โด่งดังนัก แต่เพลง ลำซิ่งเมียงู ในอัลบั้มชุดแรกของเธอก็เป็นที่รู้จักของแฟนเพลงจนกลายมาเป็นฉายาสุดเซ็กซีของเธอ ภายหลังจากที่หมดสัญญากับค่าย เธอก็กลับไปที่บุรีรัมย์ และทำวงหมอลำซิ่งของเธอเองโดยใช้ชื่อว่า หญิงลี ศรีจุมพล (ลำซิ่ง) ในที่สุดโอกาสของเธอก็มาถึง เมื่อ อ.สวัสดิ์ สารคาม โปรดิวเซอร์แห่งค่ายแกรมมี่ โกลด์ ได้ติดต่อให้เธอมาเทสต์เสียงที่แกรมมี่ โกลด์ ซึ่งแน่นอนว่า หญิงลี ก็ไม่มีพลาด เธอรีบรับโอกาสนั้นในทันทีและเดินทางเข้ามาเทสต์เสียงที่แกรมมี่ โกลด์ ก่อนจะเซ็นสัญญากับค่ายในอีก 1 เดือนต่อมา การที่ หญิงลี ได้เซ็นสัญญาเป็นนักร้องในสังกัดของค่ายแกรมมี่ โกลด์ นี้ นับเป็นโอกาสครั้งยิ่งใหญ่ของเธอ และสิ่งที่ทำให้เธอรู้สึกปลาบปลื้มมากที่สุดนั้นก็เพราะ เธอดีใจที่ได้มีโอกาสอยู่ร่วมค่ายกับไอดอลในดวงใจอย่าง ศิริพร อำไพพงษ์ นักร้องลูกทุ่งหญิงเสียงอ้อนของคณะวงดนตรีพิณแคนแดนอีสาน ។
​​  และในวันนี้ หญิงลี ศรีจุมพล ก็ได้ออกอัลบั้มเปิดตัวไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วในชื่ออัลบั้ม ชุด ขาขาวสาวลำซิ่ง ผลงานเพลงแนวหมอลำซิ่ง ที่แสนครึกครื้น สนุกสนาน ซึ่งดูแลโดย อ.สวัสดิ์ สารคาม และทีมครูเพลงอีกหลายท่าน โดยมีคอนเซ็ปต์คือความสนุกสนาน แต่ก็แอบแทรกเพลงช้า ๆ เศร้า ๆ ไว้เช่นกัน สำหรับผลงานอัลบั้มนี้ หญิงลี และทีมงานทำงานกันอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะ หญิงลี ที่ทุ่มสุดตัวเพื่อสร้างสรรค์ผลงานหมอลำซึ่งที่รัก เธอหวังว่าแฟน ๆ ที่ชื่นชอบในแนวเพลงที่สนุกสนานคงจะเมตตารับเธอไว้ในอ้อมอกอ้อมใจ โดยแฟน ๆ สามารถติดตามผลงานของ หญิงลี ศรีจุมพล ได้ทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ ។
Thursday, July 16, 2015

ประวัติ ตั๊กแตน ชลดา สาวเสียงใสเมืองโคราช ซุปตาร์วงการลูกทุ่ง


ประวัติ ตั๊กแตน ชลดา สาวเสียงใสจากเมืองโคราช กับเส้นทางชีวิตก่อนก้าวสู่การเป็นซูเปอร์สตาร์วงการลูกทุ่ง ในชั่วโมงนี้ หากจะเอ่ยถึงสาวลูกทุ่งชั้นแนวหน้าที่มีเพลงฮิตมากมาย และยึดพื้นที่ในหัวใจคอลูกทุ่งอย่างต่อเนื่อง เชื่อว่าชื่อของสาวลูกทุ่งเมืองย่าโม ตั๊กแตน ชลดา คงจะเป็นหนึ่งในนักร้องสาวที่ทุกคนคิดถึงแน่นอน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กับผลงานล่าสุดของ ตั๊กแตน ชลดา ที่มาร่วมร้องเพลง ภูมิแพ้กรุงเทพ กับป้าง นครินทร์ กิ่งศักดิ์ ก็ยิ่งเพิ่มชื่อเสียงให้สาวโคราชคนนี้โด่งดังในหมู่คอเพลงไทยสากลอีกด้วย วันนี้ กระปุกดอทคอม จึงมาขอนำประวัติ ตั๊กแตน ชลดา มาฝากกันจ้า ตั๊กแตน ชลดา หรือชื่อจริงคือ ชลดา ทองจุลกลาง เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2526 ปัจจุบันอายุ 30 ปี มีภูมิลำเนาที่ อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา เป็นลูกสาวคนเดียวจากพี่น้องทั้งหมด 4 คน เธอเรียนชั้นประถมที่โรงเรียนทับมะขาม อำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา แล้วมาต่อชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนทับรั้งวิทยาคม อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา ก่อนจะเรียนจบชั้นปริญญาตรี ที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกสื่อสารมวลชน (ภาคพิเศษ)
สำหรับจุดเริ่มต้นในการเป็นนักร้องนั้น ต้องย้อนกลับไปตั้งแต่สมัยเด็ก ๆ ที่เธอจำความได้ โดยตั๊กแตนบอกว่า ได้ยินเพลง นกจ๋า เสียงร้องมาเจ้าคงสุขใจ ที่แม่ร้องให้ฟังตั้งแต่เด็ก จากนั้นจึงเริ่มร้องตามแม่ แม้ว่าจะยังไม่เคยเห็นหน้านักร้อง จากนั้นแววนักร้องของเธอก็เริ่มฉายออกมาเมื่อครูเห็น ตั๊กแตน ชลดา อ่านทำนองเสนาะเพราะ มีเสียงดี คุณครูเลยให้ ตั๊กแตน ชลดา ร้องเพลงประกวด โดยเพลงที่เธอมักจะใช้ประกวดก็คือเพลง นักร้องบ้านนอก ของราชินีลูกทุ่ง พุ่มพวง ดวงจันทร์ หลังจากที่ ตั๊กแตน ชลดา เรียนจบชั้น ม.3 ก็ได้เข้ามาหางานทำในกรุงเทพมหานคร โดยทำงานในโรงงานเย็บผ้า แต่แล้ววันหนึ่งเธอเดินไปแถวบางแค เห็นการประกวดชุมทางเสียงทองสัญจร จึงไม่รอช้าเข้าไปร่วมประกวดด้วยเพลง อายแสงนีออน ของ พุ่มพวง ดวงจันทร์ แต่แล้วเธอก็ไปไม่ถึงฝั่งฝัน ตกรอบไปในที่สุด จากนั้นมา ตั๊กแตน ชลดา ก็เริ่มสร้างชื่อเสียงจากการประกวดร้องเพลงในรายการ First Stage Show ที่ได้รับรางวัลอันดับที่ 3 โดยผู้ที่ได้รางวัลชนะเลิศในครั้งนั้นคือ ไอซ์ ศรัณยู วินัยพานิช ส่วนรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 คือ ป๊อบ ปองกูล น่า โดยที่ตั๊กแตนได้มีเพลงเป็นของตัวเองคือ ขอจองในใจ ซึ่งอยู่ในอัลบั้มรวม แต่กว่าที่ ตั๊กแตน ชลดา จะได้มีอัลบั้มเดี่ยวเป็นของตัวเอง และเซ็นสัญญาเข้าสังกัดแกรมมี่ โกลด์ เธอก็ต้องมาเทสต์เสียงถึง 3 ครั้ง กระทั่งในปี พ.ศ. 2549 ได้มีโอกาสออกอัลบั้มชุดแรกคือ หนาวแสงนีออน ที่มีเพลงฮิตอย่าง ขอจองในใจ, นักร้องงานเลี้ยง แต่ผลงานกลับไม่โดดเด่นเท่าที่ควร อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2550 ตั๊กแตน ชลดา ก็ยังไม่ยอมแพ้ เธอกลับไปฝึกร้องเพลงและทำอัลบั้มออกมาใหม่ ใช้ชื่ออัลบั้มว่า ถนนค้นฝัน โดยมีเพลงฮิตอย่าง ไม่ใช่แฟนทำแทนไม่ได้ ซึ่งแต่งโดยอาจารย์ สลา คุณวุฒิ ที่ส่งให้ ตั๊กแตน ชลดา โด่งดังเป็นพลุแตก และตามมาด้วยเพลง จิรักหรือจิหลอก ส่งผลให้เธอมีทั้งงานคอนเสิร์ต งานโชว์ตัว และงานอื่น ๆ เข้ามาอีกมากมาย
 
ตั๊กแตน ชลดา สานต่อความสำเร็จของอัลบั้ม ถนนค้นฝัน ด้วยการเข็นอัลบั้มชุดที่ 3 ออกมา คือชุดดอกนีออนบานค่ำ ที่มีเพลงฮิตอย่าง แฟนเก็บ, อย่าโทรมาแค่ปลอบใจ, มีคนเหงารออยู่เบอร์นี้ และ ตั๊กแตน ชลดา ก็มีอัลบั้มที่ 4 คือชุด คนเหงาที่เข้าใจเธอ ในปี พ.ศ. 2552 ที่มาพร้อมกับเพลงฮิตมากมายอย่าง คนเหงาที่เข้าใจเธอ, คืนใจให้กัน, อยากเป็นคนรัก ไม่อยากเป็นชู้ ตามมาด้วยอัลบั้มชุดที่ 5 คือชุด เลือกคำว่าเจ็บ เก็บไว้คนเดียว ในปี พ.ศ. 2553 ที่มีเพลง ฉันแค่เหงา เขาแค่ปลอบ, เจตนา..แต่ว่าไม่ตั้งใจ และอัลบั้มที่ 6 กับชุด รักได้ครั้งละคน เชื่อใจได้คนละครั้ง ซึ่งมีเพลงฮิตที่เป็นชื่อเดียวกับอัลบั้ม ก่อนที่จะมีอัลบั้มชุดที่ 7 ในปี 2556 คือ นาทีเดียวเพื่อรัก ทั้งชีวิตเพื่อลืม ที่มีเพลงฮิตคือ นาทีเดียวเพื่อรัก ทั้งชีวิตเพื่อลืม และเหตุเกิดที่เธอ ผลอยู่ที่ฉัน นอกจากนี้ ตั๊กแตน ชลดา ยังเคยออกอัลบั้มพิเศษ ได้แก่ อัลบั้มรวมเพลง ในวันที่สายลมพัดผ่าน อีกทั้งยังได้ร่วมร้องเพลงของราชินีลูกทุ่งอย่าง พุ่มพวง ดวงจันทร์ ร่วมกับศิลปินคนอื่น ๆ ในอัลบั้ม ดวงจันทร์กลางดวงใจ พุ่มพวง ดวงจันทร์ ชุดที่ 2 และมีโอกาสได้ร้องเพลง เจ็บนี้ไม่มีวันจาง ในอัลบั้ม ดอกไม้จากผองศิษย์ด้วยรักแด่ครูสลา ซึ่งเป็นอัลบั้มพิเศษของคนลูกทุ่ง ร่วมร้องเพลงเพื่อเป็นเกียรติให้อาจารย์สลา คุณวุฒิ และยังมีเพลง เคียงข้างสร้างฝัน คู่กับ ไมค์ ภิรมย์พร เพลง คนบ้านเอง ร้องคู่กับ ก๊อต จักรพันธ์ ครบุรีธีรโชติ และล่าสุดกับเพลง ภูมิแพ้กรุงเทพ คู่กับ ป้าง นครินทร์ จากผลงานอันโดดเด่นของ ตั๊กแตน ชลดา ทำให้เธอคว้างรางวัลในด้านผลงานเพลงลูกทุ่งมากมาย โดยเฉพาะจากงานมหานครอวอร์ดส ที่ตั๊กแตน ชลดา คว้ารางวัลเพลงลูกทุ่งยอดนิยมในปี พ.ศ. 2547 (เพลง ขอจองในใจ), พ.ศ. 2550 (เพลง ไม่ใช่แฟนทำแทนไม่ได้) รางวัลนักร้องหญิงยอดเยี่ยม ประจำปี. พ.ศ. 2549, พ.ศ. 2550 รางวัลศิลปินเพลงลูกทุ่งยอดนิยมฝ่ายหญิง ในปี พ.ศ. 2550, 2551 และอื่น ๆ อีกมากมาย รวมทั้งยังได้รางวัลลูกกตัญญูแห่งปี 2553 โดยรับพระราชทานโล่รางวัลจาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกุมาร

ด้านการแสดงนั้น ตั๊กแตน ชลดา เคยเล่นภาพยนตร์เรื่อง อีส้ม สมหวัง ชะชะช่า และ สายฟ้ากับสมหวัง และเคยเล่นมิวสิควิดีโอเพลง คนบ้านเดียวกัน ของ ไผ่ พงศธร เรียกได้ว่าผลงานของ ตั๊กแตน ชลดา มีมากมายจนไม่น่าแปลกใจที่ใคร ๆ จะยกให้เธอเป็นหนึ่งในซุป'ตาร์ของวงการลูกทุ่ง ซึ่งเธอคนนี้ก็ยกให้ ศิริพร อำไพพงษ์ เป็นนักร้องในดวงใจ มีนักแสดงที่ชอบคือ เจิ้งอี้เจี้ยน ชอบทานไก่ย่าง ส้มตำ เป็นอาหารโปรด อีกทั้งยังชอบเลี้ยงปลาทองอีกด้วย ถ้าใครเป็นแฟนคลับสาวตั๊กแตน เราคงจะคุ้นชินกับภาพของเธอในลุคสาวหน้ากลมผมม้า แต่ช่วงหลังมานี้ กลับเห็นภาพของสาวตั๊กแตนที่สวยขึ้นเป็นกอง จนคนอดสงสัยไม่ได้ว่า ตั๊กแตน ไปทำศัลยกรรมมาหรือเปล่า ซึ่งเธอก็ไม่ปิดบังแฟนเพลงยอมรับว่า ไปทำศัลยกรรมมาจริง ๆ โดยเฉพาะที่จมูก เพราะเธอคิดว่า การทำศัลยกรรมไม่ใช่เรื่องเสียหาย หากทำออกมาสวย แฟน ๆ ชื่นชอบ ตั๊กแตน ชลดา ก็พอใจแล้ว ออกมาพูดตรง ๆ แบบนี้ ตั๊กแตน ชลดา ก็ยิ่งได้ใจแฟนเพลงไปเลยล่ะจ้า។
ประวัติ ตั๊กแตน ชลดา ชื่อจริง : ชลดา ทองจุลกลาง ชื่อเล่น :
  ตั๊กแตน ภูมิลำเนา : อ.พระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา พี่น้อง : เป็นลูกสาวคนเดียว จากพี่น้องทั้งหมด 4 คน การศึกษา : ระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนทับมะขาม อำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนทับรั้งวิทยาคม อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกสื่อสารมวลชน (ภาคพิเศษ) ผลงานอัลบั้ม ชุดที่ 1 หนาวแสงนีออน ชุดที่ 2 ถนนค้นฝัน ชุดที่ 3 ดอกนีออนบานค่ำ ชุดที่ 4 คนเหงาที่เข้าใจเธอ ชุดที่ 5 เลือกคำว่าเจ็บ เก็บไว้คนเดียว ชุดที่ 6 รักได้ครั้งละคน เชื่อใจได้คนละครั้ง ชุดที่ 7 นาทีเดียวเพื่อรัก ทั้งชีวิตเพื่อลืม รางวัลที่ได้รับ พ.ศ. 2547 รางวัลรางวัลศิลปินลูกทุ่งหน้าใหม่ยอดนิยมฝ่ายหญิง อัลบั้ม หนาวแสงนีออน ในงานมหานครอวอร์ดสครั้งที่ 1 รางวัลรางวัลเพลงลูกทุ่งยอดนิยม เพลง ขอจองในใจ อัลบั้มชุดที่1 หนาวแสงนีออน ในงานมหานครอวอร์ดสครั้งที่ 1 พ.ศ. 2549 รางวัลนักร้องหญิงยอดเยี่ยม อัลบั้ม หนาวแสงนีออน ในงานคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 4 รางวัลศิลปินลูกทุ่งหน้าใหม่ยอดนิยมฝ่ายหญิง ในงานมหานครอวอร์ดสครั้งที่ 3 พ.ศ. 2550 รางวัลนักร้องหญิงยอดนิยม อัลบั้มชุดที่ 2 ถนนค้นฝัน ในงานสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2007 ครั้งที่ 6 รางวัลรางวัลนักร้องหญิงยอดเยี่ยม จากเพลง หน้าไมค์สายเก่า อัลบั้มถนนค้นฝัน สังกัดแกรมมี่ โกลด์ ในงานคมชัดลึก อวอร์ดครั้งที่ 5 รางวัลศิลปินเพลงลูกทุ่งยอดนิยมฝ่ายหญิง อัลบั้มชุดที่ 2 ถนนค้นฝัน งานมหานครอวอร์ดสครั้งที่4 รางวัลเพลงลูกทุ่งยอดนิยม จากเพลง ไม่ใช่แฟนทำแทนไม่ได้ อัลบั้มชุดที่ 2 ถนนค้นฝัน งานมหานครอวอร์ดสครั้งที่ 4 รางวัลอัลบั้มเพลงลูกทุ่งยอดนิยม อัลบั้มชุดที่2 ถนนค้นฝัน งานมหานครอวอร์ดสครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551 รางวัลศิลปินเพลงลูกทุ่งยอดนิยม งานมหานครอวอร์ดสครั้งที่ 5 รางวัลเพลงฮิตมาราธอน จากเพลง ไม่ใช่แฟนทำแทนไม่ได้ งานมหานครอวอร์ดสครั้งที่ 5 รางวัลนักร้องยอมเยี่ยม จากเพลง อย่าโทรมาแค่ปลอบใจ อัลบั้ม ดอกนีออนบานค่ำ งานมหานครอวอร์ดสครั้งที่ 5 พ.ศ. 2552 รางวัลนักร้องลูกทุ่งหญิงยอดนิยม งานสยามดารา สตาร์ส ปาร์ตี้ ปี 2009 ไ รางวัลอัลบั้มเพลงลูกทุ่งยอดนิยม จากอัลบั้มชุดที่ 3 ดอกนีออนบานค่ำ งานมหานครอวอร์ดสครั้งที่ 6 รับพระราชทานโล่เกียรติคุณพร้อมเกียรติบัตรจาก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในรางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อเยาวชน เนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติ ประจำปี 2553 สาขาสื่อมวลชนเพื่อเด็กและเยาวชนที่ป้องกันปัญหาสังคม รางวัลลูกกตัญญูแห่งปี 2553 รับพระราชทานโล่รางวัลจาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกุมาร รางวัลนักร้องลูกทุ่งหญิงยอดนิยม สยามดาราสตาร์อวอร์ด 2010 รางวัล เพลงลูกทุ่งยอดนิยม อยากเป็นคนรักไม่อยากเป็นชู้ สยามดาราสตาร์อวอร์ด 2010 พ.ศ. 2554 ได้รับโล่รางวัลเกียรติยศสาขาศิลปินนักร้องต้นแบบเยาวชนดีเด่นในการรณรงค์ป้องกันต่อต้านปัญหายาเสพติด กับ โครงการรวมพลังเยาวชนไทยต้านภัยยาเสพติดเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา โดย ฯพณฯ พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ องคมนตรี เป็นผู้มอบรางวัล รางวัลชาวพุทธตัวอย่าง รับพระราชทานจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี รางวัลลูกกตัญญูแห่งปี 2554 รับพระราชทานโล่ประกาศเกียรติคุณโดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ รางวัลนักร้องลูกทุ่งหญิงยอดนิยมเพลง เลือกคำว่าเจ็บเก็บไว้คนเดียว สยามดาราสตาร์อวอร์ด 2011។
Wednesday, January 28, 2015

Royal Palace

We started with the vist of the the Royal Palace and the Silver Pagoda located just next to the palace grounds. Once you step inside the compound, passing the high walls, there is silence. The Royal Palace of Cambodia is the royal abode of the King of Cambodia. The compound was the citadel of King Ponhea Yat (1393-1463) and rebuilt to its present state in 1886, when King Norodom (1834-1904) relocated the royal capital from Oudong to Phnom Penh. The buildings with beautiful towering spires are a great example of classic Khmer architecture found in Cambodia today. One of the interesting buildings is The Khemarin Palace, also known as Prasat Khemarin or the "Palace of the Khmer King." This is officially the residence of His Majesty, King Norodom Sihamoni. Vistors can visit the Throne Hall (Preah Tineang Tevea Vinichhay) where coronations and official ceremonies take place, the Temple of the Emerald Buddha (Wat Preah Keo Morakot), Stupas (Chedei), a Royal Dining Hall, the Chan Chhaya Pavilion and a French-style building that was a gift from Napoleon .
Silver Pagoda
On the grounds of the Royal Palace, you should not miss the Silver Pagoda, also known as the Emerald Pagoda to Cambodians.
Originally a wooden structure, the palace was initially constructed in 1892 during the reign of King Norodom, but rebuilt to its present grandeur by King Norodom Sihanouk in 1962. The king spared no effort to make this a true embodiment of brilliant Khmer art. More than 5300 pcs of 1.125 kilo silver tiles are used to cover the floor of the Silver Pagoda, and the silver pieces collectively weigh over six tons,The staircase leading into the pagoda is marble, and inside, two breathtaking representations of the Buddha hold court. The Emerald Buddha is in fact made of Baccarat crystal, and dates back to the 17th century. A small glass case nearby enshrines a sacred Buddha relic brought from Sri Lanka in 1956 by the Venerable Loeva Em of Wat Lanka. However, the second statue of Buddha is the one that catches the eyes of visitors. Its 90 kilo gold body is studded with 2086 diamonds; the largest of which a 25 karats brilliant piece can be found on the Buddha's crown. Cast in 1904 by King Sisowath at the request of his elder brother King Norodom, it represents Maitreya Buddha, the future Buddha.
There are a total of 1650 items on display at the temple. They include cast gold headdresses made especially for the royal dancers, many solid gold Buddha statues in different forms, gifts from royalties and dignitaries from around the world and a myriad of jewels and precious antiques.

Wat Phnom
Wat Phnom is a sanctury which contains the ashes from King Ponhea Yat (1393-1463). This is the symbol of the capital city of Phnom Penh and sets prominently atop an artificial 27 meter hill (or 'Phnom') in the northeastern section of the city. Legend has it that Daun Penh, a wealthy widow, retrieved a large koki tree trunk from the river. She had hoped to use it for a house, but inside a hollow of the trunk, she found four statues of the Buddha. She then ordered for a section of her property to be elevated for a small shrine to be erected to revere the statues. This became a sacred site and people started to settle around the hill; eventually, this became the city it now is. It is here that the city gets its name: ‘Phnom’ means hill in Khmer and ‘Penh’ is of course the name of the lady. 
 Tuol Sleng Genocide Museum 
Tuol Sleng means " Hill of the Poisonous Trees" in Khmer. This horror museum is located between street 113 & street 350, southwest of the Phnom Penh City Center. It was the local high school named "Tuol Svay Prey. The high school consists of 4 main buildings, block A & B with L shape allocation south of the compound, and block C & D being allocated transparent position A & B north of the compound. In 1975 the Khmer Rouge took power under the leadership of Pot Pot, Tuol Svay Prey High School had been transformed into a prison called "S-21" or Security Office 21. S-21 was surrounded with a double wall of corrugated irons, and surmounted by electrified barbed wire. The classrooms on the ground and first floor were pierced and divided into individual cells, and second floor used for mass detention. Most of the victims are peasants, workers, technicians, engineers, doctors, students, Buddhist monks, ministers, Pol Pot cadres, solders of all ranks, the Cambodian Diplomatic corps, and even foreigners.
Tuesday, September 2, 2014

Luang Phor Kalong Wat Khao Laem

The reverend, Kalong was born on a Saturday in the second lunar month of 1919 in Klong 7, Pathumthani Province. His mother was from Supanburi Province– she was Luang Phor Niam's younger sister, making Luang Phor Kalong the nephew of Luang Phor Niam of Wat Noi Temple, who incidentally was a senior master of Supanburi Province. It was told that before his birth, Bang, an old man living opposite was fishing in the night saw a Reusi/Lersi holding a young child's hand that walked into the house. Bang was absolutely stunned! He raised his hands and joined his palm in gesture of respect and paid respect with full conviction. He then focussed his mind to make a vow,” If what I saw is real may the child born in this house definitely be a boy. If it is so I will quit my occupation and cease hauling fish forever." Thereafter not long, LP's mother gave birth to LP and named him,"Galong" – which means “flying crow”. As for Bang, he kept his vow and also kept silence about this matter. Ever since then Bang constantly kept an eye on little Galong discreetly. Luang Phor Kalong had an extra tooth in the centre of his upper palate since birth. This tooth has its similarity to Hanuman from the Ramayana epic, which has a mystical crystal fang. LP Kalong was hence perceived by nature, a miraculous monk. It is also why he is also known as Khiew Geow, which means “crystal tooth”. LP Kalong commented on his amulets: "The object which I consecrated with my concentrated mind will therefore have the value that will exceed gold. It will eventually be more difficult to come across than jewel." Because of this comment, LP Kalong’s amulets were popular amongst the many followers. When the Reverend Father Kalong grew older, he became very interested in studying magical incantations. Luang Phor Kalong is recognised as one of Thailand's true Guru Monks, practised in the arts of meditation, telepathy and magical incantations. Luang Phor Kalong was the best disciple and a confidant of the Lord Wisuthacharn or the Lord Pae,
 (passed away in 2001) who was the direct disciple of the Patriarch Pae. The Reverend Pae had said that he studied meditation and perceived many things from many masters while meditating, for example, the hermit Poochaosamingprai (the one who led him down to earth), Maha Brahma Chinapanchara, and other masters who have passed away. When LP study spell and charm of the Veda lineage with LP Niem and LP Seung at Wat Naboon until he completed the study. The two teachers then wrote a letter to entrust LP with another monk called LP Kukan. LP Kukan was 120 years old a Cambodia Guru Master at Sisaket. He was actually the teacher of both LP Niem and LP Seung. LP narrated that the very first night staying with LP Kukan. A monk there was trying to test him. This monk was a local spirit doctor and also an expert in spell and charm. At midnight,LP was bewitched by that monk. He casted spell on a piece of wood,

Wednesday, March 26, 2014

Intake photos from S-21

The next day provided Rachel and I another opportunity to reflect on Cambodia’s horrific past as we traveled 17km south of Phnom Penh to Choeung Ek, one of Cambodia’s infamous Killing Fields. During the Cambodian Genocide, prisoners from S-21 were taken to Choeung Ek and murdered before being dumped into mass graves. Since bullets were expensive most of the victims were bludgeoned to death. Throughout Cambodia there are an estimated 20,000 mass graves just like Choeung Ek. Today Choeung Ek is a memorial and museum. When we entered Choeung Ek we were given a listening device which provided us with a tour of the grounds. There are around two dozen numbered stops in Choeung Ek and each is accompanied with a piece to listen to at the specific stops. The audio tour included a history of the Choeung Ek, stories from survivors and former Khmer Rouge, and other interesting information (including a piece about how Pol Pot and the Khmer Rouge were supported by the UN and the USA as a government in exile during the 1980′). Much of the tour consisted of walking around large holes in the ground where mass graves were exhumed, and the tour finishes with a visit to the large memorial stupa which contains skulls and other bones from the almost 10,000 people who murdered at Choeung Ek. The tour finished with the narrator speaking about the importance of remembering the genocide, and other recent genocides (such as the Holocaust, the genocide of Indigenous people in America, and Rwanda among others) in order to build a more compassionate world. Choeung Ek was immensely powerful place, and although parts of it our very hard to look at/listen to it is an important place to visit and reflect on.
Wednesday, February 12, 2014

Cambodian money is called riel

  Cambodian money is called riel and is not worth much these days. 4000 riel is about 1 US dollar. It was a bit difficult transitioning back to dollars after spending so much time using Thai baht, and at some times, I had riel, baht, and dollars all in my wallet! When we arrived at the border, we were shuffled through various check points, filling out forms and getting our pictures taken. Later, we took a van into Siem Reap. Along the way, we met two backpackers from California. We chatted with them during the entire 3 hour drive, mostly discussing American foods we were craving. (Chipotle, French fries, and big floppy slices of pizza were among our top choices.) It was about 3:30 when we finally reached Siem Reap. We checked into a hotel which cost us 5 dollars a person per night and included air conditioning, tv, hot water and free breakfast. Then, we took a brief rest before flagging down a tuk-tuk (a cheap open-air taxi dragged by a motorcycle) to take us to Angkor Wat, the famous ruins on the Cambodian national flag. We went with the original goal of scoping out the sunset, but it was too cloudy so we ended up just buying our tickets for the next day’s all day temple tour and getting dropped off at Pub Street, a local backpacker/tourist hot spot which, as you can guess by the name, is lined with bars and shops. We grabbed dinner at a little restaurant where I got a crocodile burger. It was a bit dry but quite tasty. We also found a cupcake stand that had delicious moist cupcakes with cream cheese frosting. I tried red velvet and carrot, both which were absolutely divine. It’s next to impossible to get good cake in Thailand. Exhausted after our long day of travel, we hit the hay early to get a fresh start the next day.
Friday, January 17, 2014

Phnom Penh tour starts

  Your Phnom Penh tour starts with an educational experience about Cambodia's past. You’ll take a guided tour of the Tuol Sleng Genocide Museum, a former school that served as a Khmer Rouge torture center. Then, head out of the city to the Choueng Ek Memorial, where a pagoda made up of some 8,000 human skulls marks the site of one of the infamous Killing Fields. Afterwards, enjoying a Khmer lunch at an NGO training restaurant and give back to the community. After lunch, you’ll travel by moto-remork (a Cambodian tuk-tuk) and cross the Japanese Friendship Bridge leaving Phnom Penh to catch a ferry across the Mekong River to Mekong Island. The island is famous for silk weaving, agriculture, and aquaculture. We'll stop to see the silk weavers at work in the village, where you can purchase some of the local products if you wish. As you wander the village, you can explore a Buddhist temple and floating fish farms, see fields of rice and morning glory, and enjoy local Khmer snacks at a family home. Leave the tuk-tuk behind and board a boat to enjoy the sunset from the water at the junction of the Tonle Bassac, Tonle Sap, and the Mekong. You’ll see the distinctive architecture of Cambodia, with Khmer-influenced buildings such as Wat Ounalom, the Royal Palace, and the Silver Pagoda, as well as French colonial buildings — some renovated, some ravaged by neglect and the war. Finally, we close off the Mekong boat tour with a gorgeous sunset, and return you back to Phnom Penh and your hotel.